Tiny Star
โรงเรียนถาวรานุกูล จังหวัดสมุทรสงคราม

วันอังคารที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช  ๒๕๕o

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ.  ๒๕๕o  เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่  ๑๘  ซึ่งเป็นกฏหมายสูงสุดของประเทศที่ได้ใช้ระกาศแทนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. ๒๕๕0 ร่างขึ้นโดรัฐธรรมนูญที่รับการเลือกตั้งจากสมัชชาแห่งชาติไจำนวน  ๑๙๘๒  คน  ซึ่งสรรหามาจากตัวแทนองค์กร  ของรัฐ  เอกชน  กลุ่มผู้แทนอาชีพ  ผู้แทนวิชาชีพ  คณะกรรมการสรรหาของแต่ละจังหวัด ตลอดจนผู้แทนพรรคการเมืองขนาดใหญ่ทุกพรรคได้ร่วมกันเลือกสรรหามาเป็นตัวแทนในการร่างรัฐธรรมนูญ ๒00 คน  ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้ผ่านการับฟังความคิดเห็นสาธารณะจากประชาชนทั่วประเทศ   ก่อนแปรญัตติของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญในครั้งสุดท้าย  จากนั้นจึงจะจกจ่ายและเผยแพร่ให้แก่คนทุกคนทั่วประเทศ
โครงสร้างและความสำคัญ
ประเทศไทยเห็นความสำคัญของรัฐธรรมนูญทุกฉบับตลอดเวลาจะเห็นได้จากเมื่อมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญที่ใช้อยู่แล้ว มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่มาใช้บังคับในเวลาต่อมาทันที่ มีรายละเอียดดังนี้
โครงสร้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
โครงสร้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ประกอบด้วย 15 หมวด 1 บทเฉพาะกาล และ 309 มาตราดังนี้
1.     หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย ส่วนใหญ่คงสิทธิเสรีภาพเช่นเดียวกับที่กำหนดไว้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พุทธศักราช 2540
2.     หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
3.     หมวด 11 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ได้กำหนดความเป๋นอิสระในการเสนอร่างกฎหมายและความเป็นอิสระทางการเงิน
4.      หมวด 12 การตรวดสอบการใช้อำนาจรัฐ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อตรวดสอบและควบคุมบุคคลผู้ใช้อำนาจรัฐ
5.      หมวด 13 จริยธรรมผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับจริยธรรมของนักการเมือง

ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
ประเทศไทยเห็นความสำคัญของรักฐธรรมนูญทีมีต่อระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอย่างมาก โดยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่แทนรัฐธรรมนูญที่ยกเลิกแล้ว ดังนี้
1.     ยืนยันความเป็นเอกราชของประเทศไทย
2.     รับรองึวามเป็นเอกรัฐของประเทศไทย
3.     ยืนยีนว่าประเทศไทยมีการปกครอบแบบระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข
4.     คุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
5.     ให้ความคุ้มครองประชาชนชาวไทย ไม่ว่าจะมีเหล่ากำเนิดใดเพศใดหรือนับถือศาสนาใดอย่างเสมอภาคกัน

แนวทางการปฏิบัติตนตามรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
มีเจตนารณ์ในการปฏิรูปเมืองไทยทั้งระบบให้เป็นการเมืองของพลเมือง  ดังนั้น ประชาชนจึงต้องปฎิบัติตนให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

จัดทำโดย

น.ส.  พัชรพร คล้ายบรรจง เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/6
น.ส.  รวิวรรณ  ปานเพชร เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6
น.ส.  วิชิตา   พุ่มไสว  เลขที่  33  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4/6
น.ส. รพีพรรณ กลัดวงษ์ เลขที่ 34  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6
น.ส.  สิรามล  เจริญรัตน์ เลขที่  35  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6